วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งอื่นๆ

1. at นั้นมีไว้สำหรับสั่งการให้โมเด็มซ้ำสตริงคำสั่งสุดท้าย โมเด็มจะ ปฏิบัติตามคำสั่งทันทีที่พิมพ์เครื่องหมาย/ ไม่จำเป็นต้องป้อนคำเติมหน้าคำสั่ง

2. cpio ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative

3. bc คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน bc [-lwsqv] [option] [file]
ตัวอย่าง bc [Enter] 1+2 [Enter] 1^2 [Enter] a=3 [Enter] b=4 [Enter] a*b [Enter] x=2;y=5;x+y[Enter] [Ctrl-d] เพื่อออก หมายเหตุ:คำสั่งนี้จะใช้ได้ต้องInstall Packet ลงไปก่อน

4.basename เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก

5. last เป็นคำสั่งที่จะทำให้ loop หยุดทำงานและออกมาจาก loop ทันที

6. crontab มีไว้เพื่อการตั้งเวลาทำงานคำสั่งหรือโปรแกรมล่วงหน้า ตามเวลาที่ ผู้ใช้ต้องการ แต่การเปิดอนุญาติเช่นนี้อาจสร้างปัญหาให้แก่ระบบ

7. dd ใช้สำหรับจัดย่อหน้าสำหรับคำอธิบาย

8. du แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบรู้ว่า directory ใด ใช้เนื้อที่ใด หรือใช้ดูรวม ๆ

9. dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname

10. ln เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut

11. env แสดงค่า environment ปัจจุบัน

12. eject คำสั่ง EJECT เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่ง EJECT ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง EJECT จะไม่ปรากฏใน Assembly Listing

13. exec ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้

14. free แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyte
ตัวอย่าง free free -b free -k

15.groups

16. hostname คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
ตัวอย่าง hostname

17. lp

18. mount คำสั่ง mount ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)
รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPoint
ตัวอย่าง
# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdrom
หรือ
# mkdir /mnt/cdrom
# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom
#การ Mount CdRom แบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)

19. mt คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux

20.nice คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง .... ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution

21. nohup

22. netstat จะแสดงเป็นตัวเลข IP ยากต่อการเดา และการดูจริงๆคุณต้องสังเกตที่ port ที่เครื่องคุณด้วยว่าเป็น port ที่ใช้ทำอะไร

23. od แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่

24. pr คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTML

25. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)
รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]
ตัวอย่าง df [Enter]

26. printf รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป. รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ

27. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)
รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]
ตัวอย่าง df [Enter]

28. printenv คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’

29. pg เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename

30.Quota

31. rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)

แหล่งที่มา
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ
คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร

1. telnet ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน

2. ftp คำสั่ง ftp ของระบบ Unix,Linux (เป็นโปรแกรมรับ-ส่งไฟล์ )
รูบแบบการใช้งาน ftp (IP or Name of FTP Server)
ตัวอย่าง ftp 132.209.1.2 [Enter] Login:anonymous , Password: Username@YourDomain.com คำสั่งที่เกี่ยวข้อง ls - ดูไฟล์ ; pwd -ดูdir. ที่อยู่ ;cd - เปลี่ยน dir ;lcd - เปลี่ยน local dir ;mput* -ส่งไฟล์ ;mget - รับไฟล์ ;bye - ออก

3. lynx เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์

4. mesg mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal
mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้

5. ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K

6. write คำสั่งใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้น
รูปแบบคำสั่ง write user [tty] เมื่อมีการพิมพ์คำสั่ง write ผู้ใช้จะเห็นข้อความซึ่งจะแสดงว่าข้อความดังกล่าวถูกส่งมาโดยใคร ซึ่งหากผู้รับต้องการตอบกลับ ก็จะต้องใช้คำสั่ง write เช่นกัน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้พิมพ์ตัวอักษร EOF หรือ กด CTRL+C เพื่อเป็นการ interrupt ทั้งนี้ข้อความที่พิมพ์หลังจาก write จะถูกส่งหลังจากการกด Enter เท่านั้น
ตัวอย่าง write m2k

แหล่งที่มา
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ
คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

คำสั่งสำรองข้อมูล

1. tar เป็นคำสั่งเพื่อการ backup และ restore file ทั้งนี้การ tar จะเก็บทั้งโครง สร้าง directory และ file permission ด้วย (เหมาะสำหรับการเคลื่อนย้าย หรือแจกจ่ายโปรแกรมบนระบบ UNIX) มาจากคำว่า tape archive
รูปแบบคำสั่ง tar [option]... [file]... โดย option ที่มักใช้กันใน echo คือ
-c ทำการสร้างใหม่ (backup)
-t แสดงรายชื่อแฟ้มข้อมูลในแฟ้มที่ backup ไว้
-v ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวลผล
-f ผลลัพธ์ของมาที่ file -x ทำการ restore
ตัวอย่าง tar -xvf data.tar

2.gzip/gunzip คำสั่งgzip/gunzipของระบบ Unix,Linux (เป็นการบีบอัดไฟล์หรือขยายบีบอัดไฟล์) รูบแบบการใช้งาน gzipหรือgunzip (-cdfhlLnNrtv19 ) [file]
ตัวอย่าง #gzip -9vr /home/samba/* บีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ ในSub /home/samba จะเปลี่ยนเป็นนามสุกล .gz #gunzip -dvr /home/samba/* คลายการบีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ที่สกุล .gz ในSub /home/samba

แหล่งที่มา
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ
คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส

1. ps แสดง Process หรือโปรแกรมที่ประมวลผลอยู่ในระบบขณะนั้น. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบ ติดตามได้ว่ามีโปรแกรมอะไรที่ไม่ถูกต้อง run อยู่ หรือโปรแกรมอะไร

2. kill คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process)
รูปแบบการใช้งาน kill [option] (process ID)
ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย

3. fg เป็นทางที่สามในการส่ง Signals ให้แก่ process โดยการใช้ kill system call ซึ่งเป็นวิธีในการส่ง signal จาก 1 process ไปยังที่อื่น ๆ โดยสามารถใช้ได้ทั้ง “kill command” หรือ “fg command” ก็ได้ โดยต้องมีการ include signal.h ด้วย จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ได้เช่น kill เป็นต้น ซึ่ง process จะหยุดการทำงานของตัวเองโดย การส่ง PID ตัวเองไปให้ฟังก์ชัน ใน signal.h จัดการ ดังตัวอย่างการเรียกใช้ฟังก์ชัน kill ในโปรแกรม

4. bg

5. jobs คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall)
รูบแบบการใช้งาน jobs
ตัวอย่าง #sleep 20 & jobs

แหล่งที่มา
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ
คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์

1. ls เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดงแฟ้มข้อมูล (เช่นเดียวกับ dirของDOS) มากจากคำว่า list
รูปแบบคำสั่ง ls [option] [file] option ที่มักใช้กันใน ls คือ
-l จะแสดงผลลัพธ์แบบ Long Format ซึ่งจะแสดง Permission ของแฟ้มด้วย
-a จะแสดงแฟ้มข้อมูลทั้งหมด
-F จะแสดง / หลัง Directory และ * หลังแฟ้มข้อมูลที่ execute ได้
ตัวอย่างการใช้งาน
ls -l
ls -al
ls -F

2. cd คำสั่งChange Directoryของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งCDของDOS)
รูบแบบการใช้งาน cd [directory]
ตัวอย่าง cd /etc [Enter]ไปDirectory etc cd ..[Enter] ย้ายไปDirectoryอีก1ชั้น

3. pwd เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดง Directory ปัจจุบัน (ในทำนองเดียวกับการพิมพ์ cd บน DOS) มาจากคำว่า print work directory รูปแบบคำสั่ง / ตัวอย่าง pwd

4.file file คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการหาประเภทของแฟ้มข้อมูลจะดูจาก Context ภายในของแฟ้ม ซึ่งคำสั่ง file จะทำการอ่าน Content และบอกประเภทของแฟ้มข้อมูลนั้นๆ
รูปแบบคำสั่ง file [option]... file
ตัวอย่าง file /bin/sh
file report1.doc

5. mv เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการย้ายแฟ้มข้อมูลและ Directory รวมถึงการเปลี่ยนชื่อด้วย (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า move รูปแบบคำสั่ง mv source target
ตัวอย่าง mv *.tar /backup, mv test.txt old.txt, mv bin oldbin

6. mkdir เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการสร้าง directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า make directory
รูปแบบของคำสั่งmkdir mkdir [option] [file] โดย option ที่มักใช้กันใน mkdir คือ -m จะทำการกำหนด Permissioin (ให้ดูคำสั่ง chmod เพิ่มเติม) -p จะทำการสร้าง Parent Directory ให้ด้วยกรณีที่ยังไม่มีการระบุ directory ในที่นี้อาจเป็น relative หรือ absolute path ก็ได้
ตัวอย่าง mkdir /home, mkdir -p -m755 ~/้home/user1

7.rm เป็นคำสั่งที่ใช้ลบข้อมูล file ข้อมูล เกิดได้หลายกรณี เช่น เกิดจากการ ftp ขึ้นมาวางไว้

8. rmdir เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการลบ directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า remove directory
โครงสร้างคำสั่ง rmdir [option] [file] โดย option ที่มักใช้กันใน mkdir คือ -p จะทำการลบ Child และ Parent Directory ตามลำดับ directory ในที่นี้อาจเป็น relative หรือ absolute path ก็ได้
ตัวอย่าง rmdir /home

9. chown คำสั่งChange Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์)
รูบแบบการใช้งาน chown [ซื่อเจ้าของไฟล์] (ชื่อFile)
ตัวอย่าง chown user1 filename คือเปลี่ยนเจ้าของไฟล์ชื่อ filename เป็นUser1
chown -R user1.root dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname.

10. chgrp คำสั่งChange Groupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์)
รูปแบบการใช้งาน chgrp [-chfRv] (Group) (File)
ตัวอย่าง chgrp root /root/* เปลี่ยนGroupให้กับไฟล์ทุกไฟล์ในไดเรคทอรี่ /root ให้เป็น Group root

แหล่งที่มา
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ
คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ทำข้อสอบด้วย Adobe Captivate 3

ขั้นเตรียมข้อมูลของข้อทดสอบ
การเตรียมการก่อนการสร้างงานนับเป็นหัวใจของการสร้างแบบทดสอบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในเกือบทุกโปรแกรม เพราะหากไม่ได้มีการออกแบบ วางแผนการสร้างงานไว้ ล่วงหน้า การสร้างข้อคำถามด้วยโปรแกรมแบบนี้ จะทำไปได้ไม่สมบูรณ์และช้า สิ่งที่ท่านต้องเตรียมและกำหนดก่อนลงมือสร้าง อาทิ

1.โจทย์ข้อคำถามและคำตอบพร้อมทั้งคำสั่ง
2.เงื่อนไขในการทำแบบทดสอบ ซึ่งเงื่อนไขต้องอยู่ในสภาพที่โปรแกรม Adobe Captivate รองรับได้
3.เนื่องจากค่าดั้งเดิมของโปรแกรมเป็นภาษาอังกฤษท่านต้องแปลความหมายของปุ่มนำทาง เครื่องมือควบคุมที่จำเป็น ให้เป็นภาษาไทยไว้ด้วย

4.วางรูปแบบของการนำไปแสดงผล หรือการนำไปใช้งาน
5.สภาพแวดล้อมของการแสดงผล อาทิ ขนาดหน้าจอจะใช้เท่าใด ฉากหลังจะใช้สีพื้น(สีพื้นสีอะไร)หรือไฟล์รูปภาพอะไร ซึ่งถ้าเป็นรูปภาพก็ต้องจัดเตรียมให้ตรงตามขนาดหน้าจอ ที่กำหนดไว้

ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบแบบ Multiple Choice
1. เปิดโปรแกรม Adobe Captivate เลือก Record New Project
2. เลือกไปที่ Other และ Blank Project ตามลำดับ
3. กำหนดขนาดหน้าจอตามที่ต้อง

4. โปรแกรมจะแสดงผลตามที่ได้ตั้งค่าไว้ คือจะได้แผ่นสไลด์เปล่า 1 แผ่นที่พร้อมสร้างงาน ซึ่งอยู่ในสถานะ Storyboard มาถึงตอนนี้ก็อย่าลืม save งานด้วย


ขั้นตอนการตั้งค่าและเงื่อนไขของแบบทดสอบ มีวิธีการดังนี้
ขั้นนี้เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นฉากหลัง เงื่อนไขที่เรียกว่า Response ของชุดแบบทดสอบนี้ทั้งหมด

1. ไปที่เมนู Quiz เลือกรายการ Quiz Preferences ตามลำดับ

2. จะเกิดกรอบ Preferences แสดงขึ้น ช่อง Catagory ด้านซ้ายในส่วนของ Quiz เลือก Reporting ทางส่วนขวาคลิก check box เลือกที่ Enable reporting for this project เงื่อนไขที่ปรากฎในหน้านี้ มี 6 ส่วนคือ
Learning Managment System(LMS) : รูปแบบมาตรฐาน LMS ที่ท่านใช้ร่วมกับระบบ e-learning ระบบที่ท่านใช้ระบบใดท่านก็เลือกระบบนั้น โดยปกติบ้านเราเลือกใช้ SCORM ท่านก็คลิกที่ SCORM ซึ่งท่านจะต้องเข้าไปกำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมในส่วนนี้ที่ SCORM Manifest
Report Pass or Fail :ในส่วนนี้เฉพาะ Adobe Connect Server จะ Disable นั่นคือไม่ได้ใช้งาน แต่เมื่อเลือกรูปแบบอื่นๆ รวมทั้ง SCORM ส่วนนี้จะเป็น ส่วนให้ท่านได้กำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม
Chose Report Data : รูปแบบการรายงานผลเข้าสู่ระบบ มีตัวเลือก 5 รูปแบบ
Report Score to LMS as : รูปแบบเชื่อมข้อมูลส่งผ่านเข้าสู่ระบบของ LMS ว่าจะเป็นคะแนนหรือเปอร์เซนต์
Reporting Level : แสดงผลการทดสอบมีสองรูปแบบ คือ คะแนน กับแบบ interaction และคะแนนควบคู่กัน
Advance (LMS ) :

3. ที่ Setting ตรงส่วน Quiz สำหรับใช้กำหนดรายละเอียด อาทิ

Name :สำหรับกำหนดชื่อของ project (ถ้าไม่สนใจเรื่องชื่อนี้ก็ไม่ต้องเปลี่ยนแปลง)

Required : Optional : the user can skip this quizRequired : the user must take the quiz to continuePass required: the user must pass the quiz to continueAnswer all : the user must answer every question to continue

Objective ID : เป็นหมายเลขกำกับประจำสไลด์

Interactive ID Prefix : เป็นส่วนกำหนดตั้งชื่อหน้าแสดงผลที่กำหนดให้เป็นส่วน Interactive

ตรงส่วน Settings สำหรับใช้แสดงข้อความเงื่อนไขโต้ตอบผู้ใช้งาน มี 5 option คือ

Shuffle Answers : เงื่อนไขในการสลับคำตอบ
Allow backward movement :
Allow user to review quiz : มีส่วนเรียกเพื่อแสดงข้อมูลผลการทำแบบทดสอบในตอนท้าย
Show score at end of quiz : แสดงผลคะแนนเมื่อจบแบบทดสอบ
Show progress : แสดงความก้าวหน้าในการทำกิจกรรมแบบทดสอบ



และมี ส่วนกำหนดเงื่อนไขแสดง ข้อความอีก 2 ส่วน คือ Question Review Messages และ Quiz Result Messagesซึ่งเมื่อคลิกเข้าไปในทั้งสองส่วนนี้ ท่านสามารถปรับเปลี่ยนข้อความโต้ตอบผู้ใช้งานได้ ดังตัวอย่างข้างล่าง

Question Review Messages Quiz Result Messages

4. ที่ Pass or Fail เป็นส่วนกำหนดเงื่อนไขผลการทำแบบทดสอบรวมทั้งหมด นี้ มีอยู่ 3 ส่วนคือ


Pass/Fail options :เป็นส่วนกำหนดเงื่อนไขการทดสอบว่าให้ ผ่าน หรือ ไม่ผ่าน มีทั้งแบบกำหนดค่าเปอร์เซนต์ หรือกำหนด เป็นค่าคำแนนผ่านการทดสอบ

If passing grade :เป็นการกำหนดเงื่อนใขรวมของการผ่านการทดสอบ
Action : เป็นส่วนกำหนดเงื่อนไขของหน้าแบบทดสอบว่าจะให้ดำเนินการต่อไปเช่นใด ในกรณีที่ผู้ทำแบบทดสอบทำถูกต้อง
อาทิ Continue, Go to previous slide, Go to next slide, Jump to slide, Open URL or file, Open other project, Send e-mail to Execute JavaScript และ No action
If failing grade :เป็นการกำหนดเงื่อนใขรวมของการไม่ผ่านการทดสอบ
allow User : เป็นการกำหนดจำนวนครั้งของการตอบผิด
Action :มีหน้าที่ตรงส่วนนี้จะคล้ายแบบ If Correct answer แต่จะแตกต่างตรงที่หากเลือก check box ที่ Infinate attempts แล้ว ค่าตรงส่วน allow User และ Action จะถูก Disable ทันที

5. ที่ Default Labels เป็นส่วนกำหนดข้อความของปุ่ม และข้อความแสดงโต้ตอบกับผู้เรียน มีอยู่ 2ส่วน คือ
Default question button labels : เป็นส่วนกำหนดข้อความประจำปุ่มในหน้าข้อสอบ (ตัวอย่างข้างล่าง)Default question feedback : เป็นส่วนข้อความแสดงระหว่างการทำแบบทดสอบ (ตัวอย่างข้างล่าง)

6. PENS ในส่วนนี้เป็นส่วนการกำหนดเงื่อนไขมาตรฐานของแบบทดสอบเพื่อนำเข้าสู่ระบบ LMS ซึ่งระบบ e-learning ต้องรองรับมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วย อาทิ AICC, SCORM มีส่วนกำหนดอยู่ 2ส่วนคือ
Package : การ Package ต้องระบุชื่อไฟล์ , ชื่อผู้ใช้งาน, Password, การกำหนดอายุของไฟล์ข้อสอบ เป็นต้น
LMS : เป็นการส่งขึ้นระบบ LMS

PENS : Package Exchange Notification Services หมายเหตุ ในส่วนนี้ หากไม่ต้องการติดต่อฐานข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูลแบบทดสอบก็ไม่ต้องกำหนดรายละเอียดใดๆ



ขั้นการสร้างข้อคำถามและคำตอบแบบ multiple choice มีวิธีการดังนี้
ลักษณะการแสดงผล: ลักษณะรูปแบบข้อทดสอบแบบ multiple choice ที่สร้างโดย Adobe Captivate จะมีโครงสร้างเป็นแบบหน้าละข้อ ดังภาพข้างล่าง ซึ่งกรอบของ Response จะแสดงข้อความเป็นภาษาไทยให้เห็นครบทั้ง 3 เงื่อนไขตามที่ได้ตั้งไว้



วิธีการ : 1. ไปที่เมนู Quiz เลือกรายการ Quiz Slide

2. จะเกิดกรอบ Question Types ซึ่งจะแสดงประเภทรูปแบบของแบบทดสอบต่างๆ ในที่นี้เลือกรายการ multiple choice

3. คลิกปุ่ม Graded Question ตามลำดับ

4. ใส่โจทย์คำถามลงในช่อง Question
5. ใส่ค่าคะแนนประจำข้อ ตามต้องการ
6. ใส่ข้อคำตอบที่ให้เลือกตามต้องการ โดยคลิกที่ Add (การเพิ่มข้อตัวเลือกหรือจะลบข้อคำตอบที่ Delete)
7. กำหนดข้อที่ถูกต้องโดยทำการคลิกเฉพาะข้อที่เป็นคำตอบที่ถูก ให้ Active ซึ่งจะปรากฎจุด mark ลงใน radio button ดังรูป
8. ที่ Type เลือก Single Response (ในกรณีที่ให้มีคำตอบถูกเพียงคำตอบเดียว)


มาที่ Tab ชื่อ Options มีส่วนปรับแต่งเงื่อนไข อีก สามส่วน คือ

9. Typeซึ่งตรงส่วนนี้จะแสดงค่ายืนยันว่าท่านเลือก Graded - there are right and wrong answers : ซึ่งตรงส่วนนี้มี ส่วนกำหนดให้แสดงปุ่มของหน้าแบบทดสอบทั้ง 3 ปุ่ม คือ clear (ยกเลิก), back (ถอยกลับ) และ skip (ข้ามถัดไป)
10. If Correct answer เป็นส่วนกำหนดเงื่อนไขของหน้าแบบทดสอบว่าจะให้ดำเนินการต่อไปเช่นใด ในกรณีที่ผู้ทำแบบทดสอบทำถูกต้อง อาทิ Continue, Go to previous slide, Go to next slide, Jump to slide, Open URL or file, Open other project, Send e-mail to และ Execute JavaScript และหากคลิก check box ที่ Show correct message ก็จะเป็นส่วนกำหนดให้โปรแกรมแสดง Response feedback ที่เป็นข้อความ กลับมาสู่ผู้ใช้งานตามที่ตั้งค่าไว้
11. If wrong answer มีหน้าที่ตรงส่วนนี้จะคล้ายแบบ If Correct answer แต่จะแตกต่างตรงที่ หากเลือก check box ที่ Infinate attempts แล้ว ค่าตรงส่วน Action จะถูก Disable ทันที และค่า Failure level (การแก้ไขการเลือก)จะแสดงเงื่อนไข 4 ระดับ(none และระดับ 1-3) และตรงส่วน Show retry message จะ Disable เหมือนกัน ส่วน Show incomplete message จะเป็นส่วนแสดงข้อความ(ตามที่ตั้งค่าไว้)หากผู้ใช้ยังทำงานไม่ครบถ้วน
ข้ามมาที่ Reporting เพื่อกำหนดค่า

12. Report answers ให้แสดงผลการทำแบบทดสอ

13 Setting กำหนดเวลาในการทำแบบทดสอบ หากต้องการให้มีการกำหนดเวลาให้เลือกที่ Time limit แล้วกำหนดเวลาลงไป

14. เมื่อกำหนดเรียบร้อยแล้วคลิก OK


แหล่งที่มาของข้อมูล

เทคนิคการใช้งานโปรแกรม Adobe Captivate
1. โจทย์ข้อคำถามและคำตอบพร้อมทั้งคำสั่ง 2. เงื่อนไขในการทำแบบทดสอบ ซึ่งเงื่อนไข ต้องอยู่ในสภาพที่โปรแกรม Adobe Captivate รองรับได้ 3. ...www.crnfe.ac.th/captivate/quiz_choice.html - 25k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

VM ware

VMWare
.
สำหรับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อก้าวไปสู่การเป็น e-Government ที่มีการดำเนินงานและการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ และมีความรวดเร็ว เจ้าหน้าที่หรือพนักงานของหน่วยงานในทุกระดับควรมีการพัฒนาเทคนิค สร้างเสริมความรู้ประสบการณ์การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง เพื่อนำมาพัฒนาระบบต่างๆให้สามารถรองรับการให้บริการที่ดียิ่งๆ ขึ้นไป หัวข้อ IT Trip ของ GITS Newsletter ฉบับนี้ จะขอแนะนำโปรแกรมที่ชื่อว่า VMWare ซึ่งคิดว่าหลายๆ ท่านอาจจะคุ้นเคยกันดี แต่สำหรับอีกหลายๆท่านก็อาจจะไม่ทราบว่าโปรแกรม VMWare นี้คืออะไร มีประโยชน์กับผู้ใช้ระบบ IT อย่างเราๆ อย่างไรบ้าง เรามาทำความรู้จักกับมันซักหน่อยดีกว่าครับ เผื่อท่านอาจจะได้ไอเดียอะไรดีดีในการใช้โปรแกรมนี้ เพื่อนำไปพัฒนาระบบหรือพัฒนาตัวเองต่อไป


รูปที่ 1 เว็บไซต์ของ VMWare http://www.vmware.com/

VMWare คืออะไร?


โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่นในรูปที่ 2 เป็นรูปที่แสดงถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน


รูปที่ 2 แสดงการใช้ระบบปฏิบัติการ Windows NT บน Windows XP


ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่ URL http://www.vmware.com/ แล้วเลือกที่ download และทำการดาวน์โหลด VMWare Workstation ซึ่งจะมีเวลาให้ทดลองใช้งานอยู่ที่ 30 วัน
คุณสมบัติขั้นต่ำของเครื่องคอมพิวเตอร์
- CPU ความเร็วไม่ต่ำกว่า 500 MHz
- หน่วยความจำขั้นต่ำ 256 MB
- การ์ดแสดงผลแบบ 16 บิต หรือ 32 บิต
- พื้นที่ดิสก์ในการลงโปรแกรม 80 MB สำหรับเวอร์ชัน Linux และ 150 MB สำหรับ Windows
- พื้นที่ดิสก์ขนาดไม่ต่ำกว่า 1 GB ต่อการลงระบบปฎิบัติการ 1 ระบบ
สำหรับข้อจำกัดของการทำงานบน VMWare ก็คือ VMWare จะสร้างสภาพแวดล้อมของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ซึ่งเป็นของตัวโปรแกรม VMWare เอง ดังนั้นการใช้ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์หลักและคอมพิวเตอร์เสมือนจะไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถที่จะติดตั้งไดรเวอร์ของฮาร์ดแวร์จริงๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสมือนที่ลงผ่านโปรแกรม VMWare ได้

.
แหล่งที่มา
Government Information Technology Services : สำนักบริการเทคโนโลยี ... VMWare คืออะไร? โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้าง คอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ...www.gits.net.th/knowledge/newsletter/ittrip/index.asp?MenuID=28&RootMenuID=8&book=6
เขียนโดย K-Kung ที่ 9:17 หลังเที่ยง 0 ความคิดเห็น

วันอังคารที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำสั่ง ของระบบ Unix,Linux

1. man (เป็นคำสั่งแสดงข้อความ อธิบายการใช้คำสั่ง)
รูบแบบการใช้งานman (Command)
ตัวอย่าง #man ls หมายเหตุ เมื่อต้องการออก กด q ;ใช้[Spacebar] เลื่อนหน้าถัดไป ; ใช้ลูกศรขึ้นดูหน้าผ่านมา

2. alias (คล้ายกับคำสั่ง SETในDOSแต่สามารถใช้เปฝ้นคำสั่ง RUNได้)
รูบแบบการใช้งาน alias [ชื่อใหม่=ข้อความ]
ตัวอย่าง alias copy=cp กำหนดให้พิมพ์ copy แทนคำสั่ง cpได้

3. cal คำสั่งแสดงปฏิทินของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน cal
ตัวอย่าง cal [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินเดือน ปัจจุบัน) cal -y [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินปี ปัจจุบัน)

4. clear คำสั่งclearของระบบ Unix,Linux (เป็นการลบข้อความบนจอภาพ คล้ายกับคำสั่ง clsใน dos

5. cat คำสั่งแสดงข้อความในFileของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งTypeของDOS)
รูบแบบการใช้งาน cat ตัวอย่าง cat /home/user1 more อ่านข้อมูลจากไฟล์/home/user1ถ้ายาวเกินหน้าให้หยุดทีละหน้าจอ

6. date ใช้แสดง วันที่ และ เวลา ตัวอย่าง date 17 May 2004

7. echo คำสั่งechoของระบบ Unix,Linux (เป็นการให้แสดงข้อความ เหมือนกับ ECHOของDOS)
รูบแบบการใช้งาน echo (ข้อความที่ต้องการให้แสดงผล)
ตัวอย่าง echo my name is user1 echo Hello > /dev/tty2 ส่งข้อความ Hello ไปออกจอเทอร์มินอลที่2

8. exit คำสั่ง exit ของระบบ Unix,Linux (ออกจากระบบยูนิกส์ )
รูบแบบการใช้งาน exit
ตัวอย่าง exit

9. finger คำสั่ง finger ของระบบ Unix,Linux (แสดงชื่อUserที่กำลังLoginเข้ามาแต่คำสั่ง Whoจะให้รายละเอียดดีกว่า)
รูบแบบการใช้งาน finger [username]
ตัวอย่าง finger user1 แสดงชื่อและรายละเอียด user1

10. grep คำสั่ง grep ของระบบ Unix,Linux (เป็นการสั่งให้ค้นหาตามเงื่อนไข )
รูบแบบการใช้งาน grep (option) ตัวอย่าง grep -i ftp /etc/test ค้นหาบรรทัดที่มีคำว่า "ftp"ไม่สนใจพิมพ์เล็ก-ใหญ่ จาดไฟล์ /etc/test

11. more คล้ายกับคำสั่ง cat ไม่เหมาะกับการดูข้อมูลที่มีความยาวมากๆ ดังนั้น จึงได้มีการพัฒนา more ขึ้น เพื่อช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดยาวได้เป็นช่วงๆ
รูปแบบคำสั่ง more file ภายในโปรแกรม more จะมีคำสั่งเพื่อใช้งานคราวๆ ดังนี้ = แสดงเลขบรรทัด q ออกจากโปรแกรม

12. passwd คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน passwd [Username]
ตัวอย่าง passwd user1 (กำหนดรหัสผ่านให้ User1 ถ้าไม่พิมพ์ ชื่อ User ระบบUnixจะหมายความว่าแก้ไขรหัสผ่านของคนที่Loginเข้ามา)

13. who am i คำสั่งใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ซึ่ง login เข้าสู่ระบบนั้น (ตัวเราเอง) login ด้วยชื่ออะไร รูปแบบคำสั่ง/ตัวอย่าง whoami หรือ who am i (บน SUN OS หรือ UNIX บางตัวเท่านั้น)

14. sort ใช้เพื่อทำการจัดเรียงข้อมูลในแฟ้มตามลำดับ

15. su ขอเปลี่ยนตนเองเป็น super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ

16. tail จะแสดงส่วนท้ายของข้อมูลตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ

17. touch สร้างไฟล์ที่ว่างเปล่า หรือปรับเปลี่ยนวันเวลาที่บันทึกลงบนไฟล์

18. w ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างในขณะนั้น

19. cmp เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์

20. cut ใช้ตัด Text หรือตัด ข้อความ

21. diff ช้เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์ว่ามีคล้ายกันหรือต่างกันอย่างไร

22. expr ประมวลคำจากสูตรคณิตศาสตร์

23. find เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับค้นหาแฟ้มข้อมูล

24. head จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามแต่ละบรรทัดที่ต้องการ

25. less เป็นการเพิ่มมาจากคำสั่ง move ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก move ดูข้อมูลย้อนหลังไม่ได้

26. who ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ใดบ้างที่กำลังทำงานอยู่บนระบบบ้าง

27. which

28. whereis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด แต่ค้นหาได้เฉพาะที่กำหนดไว้ใน path เท่านั้น หากต้องการค้นหาทั้งเครื่องต้องใช้คำสั่ง find

แหล่งที่มา
การใช้งานคำสั่ง unix เบื้องต้น
หมายเหตุ เนื่องจาก Linux ใช้ File System แบบ Ext2 (Extended Files System 2) จึง ทำให้ Linux .... /bin
เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บคำสั่งทั่วไปของระบบ ...www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=89 - 54k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แหล่งทรัพยากรณ์

[PPT]
UNIX
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLAT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt -

[PDF]
อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLtemp: directory. unix.ppt: data. unixbig.ppt: data. vbrun300.dl_: data ..... - rwxr-xr-x. 1 arnan. users 45270 Jan 11 13:01 unix.ppt* ...www.spu.ac.th/forum/vishakan/unix.pdf -

[DOC]
Unix
รูปแบบไฟล์: Microsoft Word - แสดงเป็นแบบ HTMLยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แบบหลายงาน หลายผู้ใช้ ที่เริ่มพัฒนาโดยกลุ่มพนักงานของห้องปฏิบัติการ AT&T ...eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1219120134-Unix.doc - หน้าที่คล้ายกัน

ตอบคำถามความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ UNIX

1 ความเป็นมา
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) ระบบปฏิบัติการ UNIX มีต้นกำเนิดจากห้องปฏิบัติการวิจัย Bell ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie ปี พ.ศ. 2512 โดยมีที่มาคร่าวๆ คือ

สถาบัน MIT (Massascusetts Institute of Technology), ห้องปฏิบัติการวิจัย AT&T Bell Labs และบริษัท GE (General Electric) ร่วมกันพัฒนาโครงการ Multics ในปี 1960 เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการสำหรับ Mainframe Computer รุ่น GE 635 โดยให้ระบบปฏิบัติการนี้มีความสามารถทำงานแบบโต้ตอบ (Interactive) มีระบบอำนวยความสะดวกต่อการใช้แฟ้มและข้อมูล ร่วมกันได้ แต่เกิดปัญหาหลายประการ จนกระทั่ง Bell Labs ได้ลาออกจากโครงการ แต่โครงการก็ยังดำเนินการต่อโดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie ซึ่งทำงานกับ Bell Labs พร้อมๆ กันไปด้วย
http://kanokrat.ob.tc/-View.php?N=11

2. คุณสมบัติ
•Software Tool
–โปรแกรมบน UNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆ และสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆ โปรแกรมได้
•Portability
–เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆ ได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบน UNIX จะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกัน
•Flexibility
–UNIX มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้กับงานเล็กๆ หรืองานใหญ่ๆ ก็ได้
•Power
–สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆ มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ
•Multi-user & multitasking
–สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกัน
•Elegance
–หลักการทำงานของส่วนต่างๆ จะเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆ ได้ง่าย
•Network Orientation
–UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internet
http://www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt

3. โตรงสร้าง
ระบบปฏิบัติการ Unix สามารถแบ่งโครงสร้างหลัก ๆ ได้ 4 ระดับ แต่ละระดับก็จะทำหน้าที่ต่างกัน

- ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์หรือทุกชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่เราสามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เม้าส์ ดิกส์ไดรซ์ ซีดีรอม เป็นต้น

- ยูนิกซ์ เคอร์เนล เคอร์เนล จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการข้อมูลบริการหน่วยความจำ ซึ่งเคอร์เนลนี้จะขึ้นกับฮาร์ดแวร์ เช่น ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง ฮาร์ดแวร์ เคอร์เนลนี้ก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย เป็นต้น

- เชลล์ คือ ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับตัวเคอร์เนล ทำหน้าที่รับคำสั่งจากผู้ใช้ แล้วนำไปแปลเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ เราเรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่า command interpreter แต่ถ้ามีการนำ เชลล์หลาย ๆ ตัวมาเขียนรวมกัน (คล้าย ๆ กับ batch file ในระบบปฏิบัติการ DOS) เราจะเรียกว่า เชลล์สคริปต์ นอกจากนี้ เชลล์ (Shell) ยังมีอีกหลาย ๆ ประเภท แต่ที่นิยมกันได้แก่
1. Bourne shell (sh) เป็นเชลล์ต้นแบบของทุก ๆ เชลล์ มีความสามารถในการเขียน เชลล์สคริปต์ได้ด้วย
2. C shell (csh) เป็นเชลล์ที่สร้างหลัง Bourne shell ความสามารถพิเศษของ C shell คือเก็บข้อมูลเกี่ยวกับคำสั่งที่เคยใช้
3. Korn shell (ksh) ซึ่งพัฒนาโดย AT&T โดยได้นำคุณสมบัติเด่น ๆ ของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน
4. Bourne again shell (bash) มีคุณสมบัติและความสามารถคล้ายกับ Korn shell แต่ shell นี้ถูกสร้างขึ้นมาใช้สำหรับแจกฟรี ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทาง Linux นำมาใช้
คำสั่งที่ทำให้ทราบว่าเราใช้งาน เชลล์อะไรอยู่คือ echo $SHELL

- โปรแกรมประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมการใช้งานเพิ่มเติมต่าง ๆ ที่ใช้บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ได้แก่ pine เป็นต้น
http://gotoknow.org/blog/narongwit/110954

4. Unix Shell
Unix Shell & Environment Variables
Shell คือโปรแกรมโปรแกรมหนึ่งบน unix ที่ทำหน้าที่ interface ระหว่าง user กับ unix(kernel) user จะสามารถสั่งงาน unix ได้โดยผ่าน shell เท่านั้นไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม ทางตรงก็คือ user สั่งงาน shell ให้ไปสั่งงาน kernel เลย เช่น internal command ส่วนทางอ้อมคือ user สั่งงานให้ shell ไป execute application ให้ไปสั่งงาน kernel อีกทีหนึ่ง โปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็น shell มีอยู่หลายตัว แต่ที่นิยมใช้กันอยู่ใน ปัจจุบันมีดังต่อไปนี้

1.Bourne shell (/bin/sh) เป็น shell ในยุคแรกๆ ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย และเป็น starndard shell ที่มีใน unix ทุกตัว ทำให้สามารถย้าย shell script ที่เป็น bourne shell ไปยัง unix ระบบอื่นได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขอะไรเลย แต่มีข้อเสียคือขาด funciton ในการทำ job control จะมี default prompt เป็น "$"

2.C shell (/bin/csh) เป็น shell ที่พัฒนาขึ้นมาหลังจาก bourne shell โดยมีโครงสร้างของ syntax และ control structures คล้ายกับภาษา C มี function การทำงานหลายอย่างที่ดีและสะดวกกว่า bourne shell เช่น มีความสามารถในการเรียกคำสั่งที่ใช้ไปแล้ว และเป็น shell ตัวแรกที่สามารถทำ jobs control ได้ แต่มีข้อเสียคือ ทำงานกับ shell script ของ bourne shell ไม่ได้ โดยปรกติ default prompt จะเป็น "%"

3.Korn shell (/bin/ksh) เป็น shell ที่พัฒนาขึ้นมาโดยสามารถทำงานใน function ของ bourne shell (super set ของ bourne shell) ได้ทุกอย่างและยังเพิ่มความสามารถในการทำ jobs control ขึ้นมา การ เขียน shell script ทำได้ง่ายและรัดกุมขึ้น สามารถเรียกคำสั่งที่เคยใช้ไปแล้วมาแก้ไขแล้ว execute ไปใหม่ได้ สรุปว่าเป็น shell ที่รวมเอาข้อดีของ bourne shell และ c shell ไว้ด้วยกัน แต่ไม่ได้มีใน unix ทุกตัว korn shell จะมีขนาดใหญ่กว่า shell อื่น ๆ default prompt จะเป็น "$"

4.Bourne Again shell (/usr/local/bin/bash หรือ /bin/bash) เป็นการนำเอา bourne shell กลับมาพัฒนาใหม่ ให้สามารถทำ command line editing ได้ และทำ jobs control ได้ และยังได้เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้พิ่มขึ้นอีกหลายอย่าง bash shell นี้ไม่ใช่ standard unix shell แต่ปัจจุบันกลายเป็น default shell ของ linux จะมี default prompt เป็น $
http://tulip.bu.ac.th/~nattakorn.c/shell_env.php

5.ระบบไฟล์และไดเร็คทอรี
UNIX มองทุกอย่างเป็นไฟล์หมด แม้แต่หน่วยความจำ (/dev/mem) ซีดีรอม (/dev/cdrom) เม้าส์ (dev/mouse) โมเด็ม (/dev/modem) ระบบไฟล์และไดเรคทอรีบนUNIX มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (tree structure) โดยไดเรคทอรีนอกสุด คือ ไดเรคทอรีราก (root directory) ใช้ / เป็นตัวแทนครับ ซึ่งก็จะมีไดเรคทอรีย่อยแตกแขนง ออกไปอีกเช่น /usr /local /lib /etc /bin
ในแต่ละไดเรคทอรีบรรจุไฟล์และไดเรคทอรีย่อยลงไปอีกเช่นใน /usr จะมี local bin

ชื่อไดเรคทอรีแบบนี้จะมีความหมาย ก็ต่อเมื่อ เรารู้ว่าไดเรคทอรีนอกก่อนคืออะไร วิธีเรียกชื่อแบบนี้ถูกเรียกว่า relative pathname แต่ถ้าหากเราใช้ /usr/local หรือ /usr/bin แทน local หรือ bin เราก็จะทราบโครงสร้าง tree structure ที่แท้จริงของไดเรคทอรีนี้ วิธีการเรียกแบบนี้เรียก absolute pathname ไดเรคทอรีที่ผู้ใช้ล็อกอินเข้าไปเรียกว่า home directory ซึ่งก็ขึ้นกับผู้บริหารระบบว่าจะให้ไปอยู่ที่ไหน
http://wiki.nectec.or.th/ntl/Main/Unix-doc




วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แนะนำตัว

นาย วีระชัย รุ่งคำ รหัส 5012252112
ชื้อเล่น ป็อก (POKPOLO)
mail Junphan_sansanook@hotmail.com โทร 0843942712
web http://www.geocities.com/wrungkum

เพื่อนสนิท
นาย วัชรพง ชัยสด (กก) โทร 0854118221
URL - http://kkung27.blogspot.com/
นาย สมปอง ทองเสก (เบิร์ด) โทร 0862486905
URL - http://thongsak.blogspot.com/

อาจารย์ประจำวิชา อ.อุรารัตน์ แก้วดวงงาม
URL อาจารย์ - http://urarat.blogspot.com/

คำอธิบายรายวิชา และ E - Learning

คำอธิบายรายวิชา
ระบบปฎิบัติการ 2 (4121402)
ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียว และใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC) แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

E - Learning
http://cptd.chandra.ac.th/rawin/os2.html
http://computer.rru.ac.th/ln1/courses/6/lecture01.ppt
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์
http://www.thaiabc.com/os/indexo.html
แหล่งที่มา เว็บ thaiabc
http://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2
แหล่งที่มา เว็บบล็อก 212cafe
http://th.wikipedia.org/wiki/ยูนิกซ์
แหล่งที่มา วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี
http://www.compsci.buu.ac.th/~krisana/310222/exercise/lab-01.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
http://www.cs.psu.ac.th/intro_com/Files/Newบทที่5.1.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
http://learners.in.th/blog/bankeducation/160518
แหล่งที่มา Blog Alongkorn Pattama
http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/c/unix/index.htm
แหล่งที่มา เว็บไซต์ CIMS
http://banrong.blogspot.com/2008/02/4-unix.html
แหล่งที่มา Blog banrong.blogspot.com