วันอังคารที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำสั่ง ของระบบ Unix,Linux

1. man (เป็นคำสั่งแสดงข้อความ อธิบายการใช้คำสั่ง)
รูบแบบการใช้งานman (Command)
ตัวอย่าง #man ls หมายเหตุ เมื่อต้องการออก กด q ;ใช้[Spacebar] เลื่อนหน้าถัดไป ; ใช้ลูกศรขึ้นดูหน้าผ่านมา

2. alias (คล้ายกับคำสั่ง SETในDOSแต่สามารถใช้เปฝ้นคำสั่ง RUNได้)
รูบแบบการใช้งาน alias [ชื่อใหม่=ข้อความ]
ตัวอย่าง alias copy=cp กำหนดให้พิมพ์ copy แทนคำสั่ง cpได้

3. cal คำสั่งแสดงปฏิทินของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน cal
ตัวอย่าง cal [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินเดือน ปัจจุบัน) cal -y [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินปี ปัจจุบัน)

4. clear คำสั่งclearของระบบ Unix,Linux (เป็นการลบข้อความบนจอภาพ คล้ายกับคำสั่ง clsใน dos

5. cat คำสั่งแสดงข้อความในFileของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งTypeของDOS)
รูบแบบการใช้งาน cat ตัวอย่าง cat /home/user1 more อ่านข้อมูลจากไฟล์/home/user1ถ้ายาวเกินหน้าให้หยุดทีละหน้าจอ

6. date ใช้แสดง วันที่ และ เวลา ตัวอย่าง date 17 May 2004

7. echo คำสั่งechoของระบบ Unix,Linux (เป็นการให้แสดงข้อความ เหมือนกับ ECHOของDOS)
รูบแบบการใช้งาน echo (ข้อความที่ต้องการให้แสดงผล)
ตัวอย่าง echo my name is user1 echo Hello > /dev/tty2 ส่งข้อความ Hello ไปออกจอเทอร์มินอลที่2

8. exit คำสั่ง exit ของระบบ Unix,Linux (ออกจากระบบยูนิกส์ )
รูบแบบการใช้งาน exit
ตัวอย่าง exit

9. finger คำสั่ง finger ของระบบ Unix,Linux (แสดงชื่อUserที่กำลังLoginเข้ามาแต่คำสั่ง Whoจะให้รายละเอียดดีกว่า)
รูบแบบการใช้งาน finger [username]
ตัวอย่าง finger user1 แสดงชื่อและรายละเอียด user1

10. grep คำสั่ง grep ของระบบ Unix,Linux (เป็นการสั่งให้ค้นหาตามเงื่อนไข )
รูบแบบการใช้งาน grep (option) ตัวอย่าง grep -i ftp /etc/test ค้นหาบรรทัดที่มีคำว่า "ftp"ไม่สนใจพิมพ์เล็ก-ใหญ่ จาดไฟล์ /etc/test

11. more คล้ายกับคำสั่ง cat ไม่เหมาะกับการดูข้อมูลที่มีความยาวมากๆ ดังนั้น จึงได้มีการพัฒนา more ขึ้น เพื่อช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดยาวได้เป็นช่วงๆ
รูปแบบคำสั่ง more file ภายในโปรแกรม more จะมีคำสั่งเพื่อใช้งานคราวๆ ดังนี้ = แสดงเลขบรรทัด q ออกจากโปรแกรม

12. passwd คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน passwd [Username]
ตัวอย่าง passwd user1 (กำหนดรหัสผ่านให้ User1 ถ้าไม่พิมพ์ ชื่อ User ระบบUnixจะหมายความว่าแก้ไขรหัสผ่านของคนที่Loginเข้ามา)

13. who am i คำสั่งใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ซึ่ง login เข้าสู่ระบบนั้น (ตัวเราเอง) login ด้วยชื่ออะไร รูปแบบคำสั่ง/ตัวอย่าง whoami หรือ who am i (บน SUN OS หรือ UNIX บางตัวเท่านั้น)

14. sort ใช้เพื่อทำการจัดเรียงข้อมูลในแฟ้มตามลำดับ

15. su ขอเปลี่ยนตนเองเป็น super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ

16. tail จะแสดงส่วนท้ายของข้อมูลตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ

17. touch สร้างไฟล์ที่ว่างเปล่า หรือปรับเปลี่ยนวันเวลาที่บันทึกลงบนไฟล์

18. w ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างในขณะนั้น

19. cmp เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์

20. cut ใช้ตัด Text หรือตัด ข้อความ

21. diff ช้เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์ว่ามีคล้ายกันหรือต่างกันอย่างไร

22. expr ประมวลคำจากสูตรคณิตศาสตร์

23. find เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับค้นหาแฟ้มข้อมูล

24. head จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามแต่ละบรรทัดที่ต้องการ

25. less เป็นการเพิ่มมาจากคำสั่ง move ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก move ดูข้อมูลย้อนหลังไม่ได้

26. who ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ใดบ้างที่กำลังทำงานอยู่บนระบบบ้าง

27. which

28. whereis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด แต่ค้นหาได้เฉพาะที่กำหนดไว้ใน path เท่านั้น หากต้องการค้นหาทั้งเครื่องต้องใช้คำสั่ง find

แหล่งที่มา
การใช้งานคำสั่ง unix เบื้องต้น
หมายเหตุ เนื่องจาก Linux ใช้ File System แบบ Ext2 (Extended Files System 2) จึง ทำให้ Linux .... /bin
เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บคำสั่งทั่วไปของระบบ ...www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=89 - 54k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แหล่งทรัพยากรณ์

[PPT]
UNIX
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLAT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt -

[PDF]
อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLtemp: directory. unix.ppt: data. unixbig.ppt: data. vbrun300.dl_: data ..... - rwxr-xr-x. 1 arnan. users 45270 Jan 11 13:01 unix.ppt* ...www.spu.ac.th/forum/vishakan/unix.pdf -

[DOC]
Unix
รูปแบบไฟล์: Microsoft Word - แสดงเป็นแบบ HTMLยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แบบหลายงาน หลายผู้ใช้ ที่เริ่มพัฒนาโดยกลุ่มพนักงานของห้องปฏิบัติการ AT&T ...eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1219120134-Unix.doc - หน้าที่คล้ายกัน

ตอบคำถามความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ UNIX

1 ความเป็นมา
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) ระบบปฏิบัติการ UNIX มีต้นกำเนิดจากห้องปฏิบัติการวิจัย Bell ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie ปี พ.ศ. 2512 โดยมีที่มาคร่าวๆ คือ

สถาบัน MIT (Massascusetts Institute of Technology), ห้องปฏิบัติการวิจัย AT&T Bell Labs และบริษัท GE (General Electric) ร่วมกันพัฒนาโครงการ Multics ในปี 1960 เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการสำหรับ Mainframe Computer รุ่น GE 635 โดยให้ระบบปฏิบัติการนี้มีความสามารถทำงานแบบโต้ตอบ (Interactive) มีระบบอำนวยความสะดวกต่อการใช้แฟ้มและข้อมูล ร่วมกันได้ แต่เกิดปัญหาหลายประการ จนกระทั่ง Bell Labs ได้ลาออกจากโครงการ แต่โครงการก็ยังดำเนินการต่อโดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie ซึ่งทำงานกับ Bell Labs พร้อมๆ กันไปด้วย
http://kanokrat.ob.tc/-View.php?N=11

2. คุณสมบัติ
•Software Tool
–โปรแกรมบน UNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆ และสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆ โปรแกรมได้
•Portability
–เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆ ได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบน UNIX จะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกัน
•Flexibility
–UNIX มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้กับงานเล็กๆ หรืองานใหญ่ๆ ก็ได้
•Power
–สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆ มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ
•Multi-user & multitasking
–สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกัน
•Elegance
–หลักการทำงานของส่วนต่างๆ จะเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆ ได้ง่าย
•Network Orientation
–UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internet
http://www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt

3. โตรงสร้าง
ระบบปฏิบัติการ Unix สามารถแบ่งโครงสร้างหลัก ๆ ได้ 4 ระดับ แต่ละระดับก็จะทำหน้าที่ต่างกัน

- ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์หรือทุกชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่เราสามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เม้าส์ ดิกส์ไดรซ์ ซีดีรอม เป็นต้น

- ยูนิกซ์ เคอร์เนล เคอร์เนล จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการข้อมูลบริการหน่วยความจำ ซึ่งเคอร์เนลนี้จะขึ้นกับฮาร์ดแวร์ เช่น ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง ฮาร์ดแวร์ เคอร์เนลนี้ก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย เป็นต้น

- เชลล์ คือ ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับตัวเคอร์เนล ทำหน้าที่รับคำสั่งจากผู้ใช้ แล้วนำไปแปลเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ เราเรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่า command interpreter แต่ถ้ามีการนำ เชลล์หลาย ๆ ตัวมาเขียนรวมกัน (คล้าย ๆ กับ batch file ในระบบปฏิบัติการ DOS) เราจะเรียกว่า เชลล์สคริปต์ นอกจากนี้ เชลล์ (Shell) ยังมีอีกหลาย ๆ ประเภท แต่ที่นิยมกันได้แก่
1. Bourne shell (sh) เป็นเชลล์ต้นแบบของทุก ๆ เชลล์ มีความสามารถในการเขียน เชลล์สคริปต์ได้ด้วย
2. C shell (csh) เป็นเชลล์ที่สร้างหลัง Bourne shell ความสามารถพิเศษของ C shell คือเก็บข้อมูลเกี่ยวกับคำสั่งที่เคยใช้
3. Korn shell (ksh) ซึ่งพัฒนาโดย AT&T โดยได้นำคุณสมบัติเด่น ๆ ของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน
4. Bourne again shell (bash) มีคุณสมบัติและความสามารถคล้ายกับ Korn shell แต่ shell นี้ถูกสร้างขึ้นมาใช้สำหรับแจกฟรี ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทาง Linux นำมาใช้
คำสั่งที่ทำให้ทราบว่าเราใช้งาน เชลล์อะไรอยู่คือ echo $SHELL

- โปรแกรมประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมการใช้งานเพิ่มเติมต่าง ๆ ที่ใช้บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ได้แก่ pine เป็นต้น
http://gotoknow.org/blog/narongwit/110954

4. Unix Shell
Unix Shell & Environment Variables
Shell คือโปรแกรมโปรแกรมหนึ่งบน unix ที่ทำหน้าที่ interface ระหว่าง user กับ unix(kernel) user จะสามารถสั่งงาน unix ได้โดยผ่าน shell เท่านั้นไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม ทางตรงก็คือ user สั่งงาน shell ให้ไปสั่งงาน kernel เลย เช่น internal command ส่วนทางอ้อมคือ user สั่งงานให้ shell ไป execute application ให้ไปสั่งงาน kernel อีกทีหนึ่ง โปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็น shell มีอยู่หลายตัว แต่ที่นิยมใช้กันอยู่ใน ปัจจุบันมีดังต่อไปนี้

1.Bourne shell (/bin/sh) เป็น shell ในยุคแรกๆ ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย และเป็น starndard shell ที่มีใน unix ทุกตัว ทำให้สามารถย้าย shell script ที่เป็น bourne shell ไปยัง unix ระบบอื่นได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขอะไรเลย แต่มีข้อเสียคือขาด funciton ในการทำ job control จะมี default prompt เป็น "$"

2.C shell (/bin/csh) เป็น shell ที่พัฒนาขึ้นมาหลังจาก bourne shell โดยมีโครงสร้างของ syntax และ control structures คล้ายกับภาษา C มี function การทำงานหลายอย่างที่ดีและสะดวกกว่า bourne shell เช่น มีความสามารถในการเรียกคำสั่งที่ใช้ไปแล้ว และเป็น shell ตัวแรกที่สามารถทำ jobs control ได้ แต่มีข้อเสียคือ ทำงานกับ shell script ของ bourne shell ไม่ได้ โดยปรกติ default prompt จะเป็น "%"

3.Korn shell (/bin/ksh) เป็น shell ที่พัฒนาขึ้นมาโดยสามารถทำงานใน function ของ bourne shell (super set ของ bourne shell) ได้ทุกอย่างและยังเพิ่มความสามารถในการทำ jobs control ขึ้นมา การ เขียน shell script ทำได้ง่ายและรัดกุมขึ้น สามารถเรียกคำสั่งที่เคยใช้ไปแล้วมาแก้ไขแล้ว execute ไปใหม่ได้ สรุปว่าเป็น shell ที่รวมเอาข้อดีของ bourne shell และ c shell ไว้ด้วยกัน แต่ไม่ได้มีใน unix ทุกตัว korn shell จะมีขนาดใหญ่กว่า shell อื่น ๆ default prompt จะเป็น "$"

4.Bourne Again shell (/usr/local/bin/bash หรือ /bin/bash) เป็นการนำเอา bourne shell กลับมาพัฒนาใหม่ ให้สามารถทำ command line editing ได้ และทำ jobs control ได้ และยังได้เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้พิ่มขึ้นอีกหลายอย่าง bash shell นี้ไม่ใช่ standard unix shell แต่ปัจจุบันกลายเป็น default shell ของ linux จะมี default prompt เป็น $
http://tulip.bu.ac.th/~nattakorn.c/shell_env.php

5.ระบบไฟล์และไดเร็คทอรี
UNIX มองทุกอย่างเป็นไฟล์หมด แม้แต่หน่วยความจำ (/dev/mem) ซีดีรอม (/dev/cdrom) เม้าส์ (dev/mouse) โมเด็ม (/dev/modem) ระบบไฟล์และไดเรคทอรีบนUNIX มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (tree structure) โดยไดเรคทอรีนอกสุด คือ ไดเรคทอรีราก (root directory) ใช้ / เป็นตัวแทนครับ ซึ่งก็จะมีไดเรคทอรีย่อยแตกแขนง ออกไปอีกเช่น /usr /local /lib /etc /bin
ในแต่ละไดเรคทอรีบรรจุไฟล์และไดเรคทอรีย่อยลงไปอีกเช่นใน /usr จะมี local bin

ชื่อไดเรคทอรีแบบนี้จะมีความหมาย ก็ต่อเมื่อ เรารู้ว่าไดเรคทอรีนอกก่อนคืออะไร วิธีเรียกชื่อแบบนี้ถูกเรียกว่า relative pathname แต่ถ้าหากเราใช้ /usr/local หรือ /usr/bin แทน local หรือ bin เราก็จะทราบโครงสร้าง tree structure ที่แท้จริงของไดเรคทอรีนี้ วิธีการเรียกแบบนี้เรียก absolute pathname ไดเรคทอรีที่ผู้ใช้ล็อกอินเข้าไปเรียกว่า home directory ซึ่งก็ขึ้นกับผู้บริหารระบบว่าจะให้ไปอยู่ที่ไหน
http://wiki.nectec.or.th/ntl/Main/Unix-doc




วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แนะนำตัว

นาย วีระชัย รุ่งคำ รหัส 5012252112
ชื้อเล่น ป็อก (POKPOLO)
mail Junphan_sansanook@hotmail.com โทร 0843942712
web http://www.geocities.com/wrungkum

เพื่อนสนิท
นาย วัชรพง ชัยสด (กก) โทร 0854118221
URL - http://kkung27.blogspot.com/
นาย สมปอง ทองเสก (เบิร์ด) โทร 0862486905
URL - http://thongsak.blogspot.com/

อาจารย์ประจำวิชา อ.อุรารัตน์ แก้วดวงงาม
URL อาจารย์ - http://urarat.blogspot.com/

คำอธิบายรายวิชา และ E - Learning

คำอธิบายรายวิชา
ระบบปฎิบัติการ 2 (4121402)
ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียว และใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC) แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

E - Learning
http://cptd.chandra.ac.th/rawin/os2.html
http://computer.rru.ac.th/ln1/courses/6/lecture01.ppt
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์
http://www.thaiabc.com/os/indexo.html
แหล่งที่มา เว็บ thaiabc
http://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2
แหล่งที่มา เว็บบล็อก 212cafe
http://th.wikipedia.org/wiki/ยูนิกซ์
แหล่งที่มา วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี
http://www.compsci.buu.ac.th/~krisana/310222/exercise/lab-01.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
http://www.cs.psu.ac.th/intro_com/Files/Newบทที่5.1.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
http://learners.in.th/blog/bankeducation/160518
แหล่งที่มา Blog Alongkorn Pattama
http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/c/unix/index.htm
แหล่งที่มา เว็บไซต์ CIMS
http://banrong.blogspot.com/2008/02/4-unix.html
แหล่งที่มา Blog banrong.blogspot.com